เข้าชม : 24 |

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนำเข้า
 
เกณฑ์การประเมิน
ในกรณีที่จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจำน้อยกว่าหรือเท่ากับเกณฑ์มาตรฐานกำหนดเป็นคะแนน ๕
ค่าความแตกต่างของจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจำที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ร้อยละ ๒๐ กำหนดเป็นคะแนน ๐
ค่าความแตกต่างของจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจำที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ร้อยละ ๐.๐๑ และไม่เกินร้อยละ ๒๐ ให้นำมาเทียบบัญญัติไตรยางศ์ตามสูตรเพื่อเป็นคะแนนหลักสูตรนั้นๆ
.
สูตรการคำนวณ
          จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาของ รร.นรต.เท่ากับจำนวนนักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ ๑ – ๔ เนื่องจากเป็นหลักสูตรบังคับเรียนเต็มเวลา รวม ๔ ชั้นปี เท่ากับ ๑,๐๙๘ คน ต่ออาจารย์ ๙๔ คน คิดเป็นสัดส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ประจำ  =  ๑๑.๖๘ : ๑ 
 
 
ค่าความแตกต่างจากเกณฑ์มาตรฐาน = ๑๑.๖๘ – ๒๕  X ๑๐๐        = ร้อยละ - ๕๓.๒๘
                                                        ๒๕                           =  ๕  คะแนน
ผลการดำเนินงาน
ปีการศึกษา ๒๕๕๘  รร.นรต. มีนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ๑,๐๙๘ คน ต่ออาจารย์ประจำ ๙๔ คน  คิดเป็นร้อยละ  - ๕๓.๒๘  หรือ ๕.๐๐ คะแนน
 
ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้/ข้อมูลพื้นฐาน
ประกอบตัวบ่งชี้
เป้าหมาย
 
ผลการ
ดำเนินงาน
คะแนนที่ได้ การบรรลุเป้าหมาย
จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ๕.๐๐ คะแนน ๕.๐๐ คะแนน ๕.๐๐
คะแนน
o สูงกว่าเป้าหมาย
þ เป็นไปตามเป้าหมาย
 
รายการหลักฐาน
ที่ รายการหลักฐาน รหัสหลักฐาน
หนังสือ ศบศ.ที่ ๐๐๓๕.๗๑/๑๑๖๐ จำนวน นรต.ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑.๔ – ๐๑
๒. บัญชีรายชื่อ  ตำแหน่งทางวิชาการ และวุฒิการศึกษาอาจารย์  ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑.๔ – ๐๒