เข้าชม : 69 |

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนำเข้า
 
เกณฑ์การประเมิน
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกัน ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป
 
สูตรการคำนวณ (นับอาจารย์ทั้งหมด)
๑. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ     X  ๑๐๐
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด
 
๖๒.๕
 
 
X  ๑๐๐      =    ร้อยละ ๖๘.๖๘
๙๑
 
 
๒. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ ๑ เทียบกับคะแนนเต็ม ๕
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ X  ๕
ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ (๖๐)
 
 
 
 
๖๘.๖๘      X  ๕        =   ๕.๗๒ คะแนน
                 =   ๕  คะแนน
๖๐
 
 
ผลการดำเนินงาน
ปีการศึกษา ๒๕๕๗  รร.นรต. มีอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ๖๒.๕ คน จากอาจารย์ประจำทั้งหมด ๙๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๖๘ หรือ ๕ คะแนน
 
ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้/ข้อมูลพื้นฐาน
ประกอบตัวบ่งชี้
เป้าหมาย
 
ผลการ
ดำเนินงาน
คะแนนที่ได้ การบรรลุเป้าหมาย
อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ
๕๔.๐๐
ร้อยละ
๖๘.๖๘

คะแนน
þ สูงกว่าเป้าหมาย
o เป็นไปตามเป้าหมาย
o ต่ำกว่าเป้าหมาย
 
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวบ่งชี้ (นับรวมที่ลาศึกษาต่อ)
จำนวนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ หน่วยวัด ผลการดำเนินงานใน
ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
 
 
๑. ศาสตราจารย์ คน ๘.๕  
๒. รองศาสตราจารย์ คน ๒๔.๕  
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คน ๒๙.๕  
๔. อาจารย์ที่ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ คน ๒๘.๕  
๕. รวมจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด คน ๙๑  
๖. รวมจำนวนอาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งวิชาการ คน ๖๒.๕  
๗ ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งวิชาการ ร้อยละ ๖๘.๖๘  
 
รายการหลักฐาน
ที่ รายการหลักฐาน รหัสหลักฐาน แหล่งหลักฐาน
ตารางสรุป รายชื่อ  ตำแหน่งทางวิชาการ และวุฒิการศึกษา ของอาจารย์  ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๑.๓ – ๑