เข้าชม : 49 |

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ชนิดชองตัวบ่งชี้ ปัจจัยนำเข้า
 
เกณฑ์การประเมิน
กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็น คะแนนเต็ม ๕ = ๒๕,๐๐๐ บาทขึ้นไปต่อคน
 
สูตรการคำนวณ (นับอาจารย์และนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับลาศึกษาต่อ)
๑. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ
 
จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายใน และภายนอก  =  จำนวนเงินสนับสนุน
     งานวิจัยฯ
จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ
 
 
 
๗,๖๔๙,๔๔๐.๐๐      =   ๘๔,๙๙๓.๗๘ บาท/คน
๙๐
 
 
๒. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ ๑ เทียบกับคะแนนเต็ม ๕ 
 
จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ  X  ๕  =   ………………..คะแนน
จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕
 
 
๘๔,๙๙๓.๗๘  X  ๕  =  ๑๗  คะแนน
           =  ๕  คะแนน
 
๒๕,๐๐๐
 
 
ผลการดำเนินงาน
ปีการศึกษา ๒๕๕๗ มีเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบัน รวม ๗,๖๔๙,๔๔๐.๐๐ บาท  จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง ๙๐ คน สรุปอาจารย์ประจำและนักวิจัยได้รับเงินสนับสนุน ๘๔,๙๙๓.๗๘  บาท/คน  คิดเป็น  ๕  คะแนน

ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้/ข้อมูลพื้นฐาน
ประกอบตัวบ่งชี้
เป้าหมาย
 
ผลการ
ดำเนินงาน
คะแนนที่ได้ การบรรลุเป้าหมาย
เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย ๒๐,๐๐๐ บาท ๘๔,๙๙๓.๗๘บาท ๕ คะแนน þ สูงกว่าเป้าหมาย
o เป็นไปตามเป้าหมาย
o ต่ำกว่าเป้าหมาย
 
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวบ่งชี้ (นับรวมที่ลาศึกษาต่อ)
จำนวนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ หน่วยวัด ผลการดำเนินงานใน
ปีการศึกษา  ๒๕๕๗
 
 
๑. เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายใน บาท ๓๖๕,๐๐๐.๐๐  
๒. เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอก บาท ๗,๒๘๔,๔๔๐.๐๐  
๓. รวมเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ บาท ๗,๖๔๙,๔๔๐.๐๐  
๔. จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง คน ๙๐  
๕. เฉลี่ยเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อคน บาท ๘๔,๙๙๓.๗๘  
 
รายการหลักฐาน
ที่ รายการหลักฐาน รหัสหลักฐาน
บัญชีรวมเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ๒.๒ – ๐๑
รายชื่ออาจารย์ รร.นรต.ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๒.๒ – ๐๒
การศึกษาปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของนักเรียนนายร้อยตำรวจหญิง ๒.๒ – ๐๓
การพัฒนาเทคนิคการสอน นรต.ชั้นปีที่ ๑ ในการเรียนวิชากฎหมายแพ่ง๑ หัวข้อนิติกรรมสัญญา ๒.๒ – ๐๔
การศึกษาปัญหาการเรียนการสอนทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ๒.๒ – ๐๕
การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายอาญาของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวกับประเทศไทย ๒.๒ – ๐๖
การวิเคราห์วัฒนธรรมนักเรียนนายร้อยตำรวจ ๒.๒ – ๐๗
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการทำงานกับความสุขของข้าราชการตำรวจในสังกัดโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ๒.๒ – ๐๘
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment-ITA) (ป.ป.ท.กระทรวงยุติธรรม) ๒.๒ – ๐๙
๑๐ รูปแบบการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมที่เหมาะสมกับบริบทสังคมไทย (สกว.) ๒.๒ – ๑๐
๑๑ การจัดการความรู้เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานจราจรในเขตพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล (สกว.) ๒.๒ – ๑๑
๑๒ รูปแบบการเสร้มสร้างจริยธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพตำรวจให้แก่นักเรียนนายร้อยตำรวจ (The stydy for Strengthening professional ethics to Police student) (สกว.) ๒.๒ – ๑๒
๑๓ การศึกษาพัฒนามาตรฐานและตัวชีวัดความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินของประชาชน (The Study for Develop Standards Indicators of The Life and Property Safety) (สกว.) ๒.๒ – ๑๓