เกณฑ์ |
การดำเนินงานในแต่ละระดับ |
หมายเลขเอกสาร |
ระดับ ๑ |
๑. พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOTกับวิสัยทัศน์ของสถาบันและพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายของแผนกลยุทธ์
๑. มีการนำแผนพัฒนาโรงเรียนนายร้อยตำรวจมาใช้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ มาใช้
๒. มีการนำแผนปฏิบัติราชการโรงเรียนนายร้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาใช้
๓. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนการปฏิบัติราชการสทว. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๔. มีการจัดทำแผนการปฏิบัติราชการสทว.รร.นรต. และนำมาใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ |
๕.๑-๑-๐๑
๕.๑-๑-๐๒
๕.๑-๑-๐๓
๕.๑-๑-๐๔
|
ระดับ ๒ |
๒. มีการบริหารงบประมาณการเงินที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการตามพันธกิจ มีการายงานการใช้จ่ายงบประมาณต่อผู้บริหารสถาบัน อย่างเป็นระบบ
|
๕.๑-๒-๐๑
๕.๑-๒-๐๒
๕.๑-๒-๐๓
๕.๑-๒-๐๔
|
ระดับ ๓ |
๓. ดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
๑. มีการแจ้งแนวทางปฏิบัติ เรื่องการบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ของ ตร. กับหน่วยงานในสังกัด สทว.รร.นรต.
๒. มีการใช้แผนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในเชิงบูรณาการ ของ รร.นรต.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๐
๓. แจกจ่ายคำสั่ง รร.นรต. ที่ ๕๘๙/๒๕๖๐ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในเชิงบูรณาการ รร.นรต. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
๔. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของ สทว.รร.นรต. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ (สทว.รร.นรต.ที่ ๑/๒๕๖๑ ลง ๕ ม.ค.๒๕๖๑)
๕. มีการแจกจ่ายคำสั่ง สทว.รร.นรต.ที่ ๑/๒๕๖๑ ลง ๕ ม.ค.๒๕๖๑ ในสังกัด สทว. และเชิญประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน เพื่อจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงฯ ของ สทว.รร.นรต.
๖. สทว.ได้ออกแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของ สทว. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
๗.มีการรายงานการแถลงแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของ สทว.รร.นรต.
๘. มีการส่งรายงานผลการดำเนินการ เรื่องการควบคุมภายในในรอบ ๖ เดือน ตามที่ ตร. กำหนด |
๕.๑-๓-๐๑
๕.๑-๓-๐๒
๕.๑-๓-๐๓
๕.๑-๓-๐๔
๕.๑-๓-๐๕
๕.๑-๓-๐๖
๕.๑-๓-๐๗
๕.๑-๓-๐๘ |
ระดับ ๔ |
๔. บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง ๑๐ ประการ ที่อธิบายการดำเนินงานอย่างชัดเจน
- หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะนำมาปรับใช้ในภาครัฐมี ๑๐ องค์ประกอบ ดังนี้
๑. มีการจัดใช้แผนการปฏิบัติราชการของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ โรงเรียนนายร้อยตำรวจเพื่อสอดคล้องกับหลักการทำงานให้มีประสิทธิผล
๒. มีการแต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาจัดทำแผนการใช้จ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักประสิทธิภาพ
๓. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารข้อมูลข่าวสารของสำนักทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ เพื่อให้สอดคล้งกับหลักการตอบสนอง
๔. มีการจัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่ สทว.รร.นรต. โดยให้สอดคล้องกับหลักภาระรับผิดชอบ
๕. มีการรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี ๒๕๖๐ ( งบ.๐๓ ) สอดคล้องกับหลักของความโปร่งใส
๖. มีการแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงิน โดยให้ข้าราชการตำรวจตั้งแต่ระดับ รองสารวัตรถึง รองผู้บังคับการ มีส่วนรับผิดชอบร่วมกัน
๗. มีการแต่งตั้งคำสั่งการมอบอำนาจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ให้สอดคล้องกับ หลักการกระจายอำนาจ
๘. มีการออกคำสั่งมอบหมายการปกครองบังคับบัญชาตามมาตรการควบคุมและเสริมสร้างความประพฤติและวินัยข้าราชการตำรวจตามคำสั่งกรมตำรวจ ที่ ๑๒๑๒/๒๕๓๗ เพื่อให้การบังคับบัญชาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นธรรม
๙. มีการออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่ราชการให้ข้าราชการตำรวจทุกนายปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
๑๐. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเร่งรัดติดตาม เพื่อตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามเกณฑ์การใช่จ่ายสทว.รร.นรต.
|
๕.๑-๔-๐๑
๕.๑-๔-๐๒
๔.๑-๔-๐๓
๕.๑-๔-๐๔
๕.๑-๔-๐๕
๕.๑-๔-๐๖
๕.๑-๔-๐๗
๕.๑-๔-๐๘
๕.๑-๔-๐๙
๕.๑-๔-๑๐
|
ระดับ ๕ |
๕.ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ตามประเด็นความรู้อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรและนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
๑. มีการแต่งตั้งผู้บริหารจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer : CKO) และคณะทำงานด้านการจัดการความรู้ (Knowledge Management Team)
๒. ส่งสำเนาคำสั่งให้คณะทำงานการจัดการความรู้ฯพร้อมหนังสือเชิญประชุมฯ, วาระการประชุม
๓. รายการประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ลง ๕ ม.ค.๒๕๖๑
๔. มีการแต่งตั้งคณะทำงานกลั่นกรองการจัดการความรู้ของ สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ
๕. ส่งสำเนาคำสั่งให้คณะทำงานการกลั่นกรองความรู้ พร้อมหนังสือเชิญประชุม, วาระการประชุม
๖. รายงานการประชุมการกลั่นกรองการจัดการความรู้ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ เมื่อ ๘ ก.พ.๒๕๖๑
๗. แบบฟอร์มที่ ๑ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
แบบฟอร์มที่ ๒ แผนการจัดความรู้แผนที่ ๒ (KM Action Plan)
๑. ฝ่ายบริหารและธุรการ“คู่มือสรุปวิธีการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ”
๒. ฝ่ายระบบสารสนเทศ “ คู่มือการใช้งานระบบ Mobile Application ติดตามคดี”
๓. ฝ่ายวิทยบริการ “คู่มือการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดข่าวมติชน E-Library”
๘. “คู่มือสรุปวิธีการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ”
๙. “ คู่มือการใช้งานระบบ Mobile Application ติดตามคดี”
๑๐. “คู่มือการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุดข่าวมติชน E-Library”
๑๑. แบบสำรวจความพึงพอใจในการจัดการองค์ความรู้
๑๒. ประชาสัมพันธ์การจัดการความรู้ของ สทว.รร.นรต.
. การนำ KM ของ สทว. เผยแพร่บนเว็บไซต์
- การประเมินความพึงพอใจในการจัดการองค์ความรู้ของ สทว.รร.นรต.
จัดทำรูปเล่ม KM ของ สทว.รร.นต.
- ความรู้เรื่อง KM (http://www.ict.su.ac.th/th/knowledge-management/knowledge-management.html)
- KM ของ สทว.รร.นรต.
|
๕.๑-๕–๐๑
๕.๑-๕–๐๒
๕.๑-๕–๐๓
๕.๑-๕–๐๔
๕.๑-๕–๐๕
๕.๑-๕-๐๖
๕.๑-๕-๐๗
๕.๑-๕-๐๘
๕.๑-๕-๐๙
๕.๑-๕–๑๐
๕.๑-๕–๑๑
๕.๑-๕–๑๒
|
ระดับ ๖ |
๖. การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน
๑. มีการขออนุมัติโครงการสร้างเสริมความรู้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐผ่านโซเซียลมิเดีย
๒. มีการดำเนินการ ตามโครงการสร้างเสริมความรู้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐผ่านโซเซียลมิเดีย
๓. สรุปผลการดำเนินโครงการสร้างเสริมความรู้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐผ่านโซเซียลมิเดีย
๔. มีการจัดทำเอกสารการอบรม ตามโครงการ สร้างเสริมความรู้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐผ่านโซเซียลมิเดีย
|
๕.๑-๖-๐๑
๕.๑-๖-๐๒
๕.๑-๖-๐๓
๕.๑-๖-๐๔
|
ระดับ ๗ |
๗. ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะ/หน่วยงาน ที่ได้ปรับให้การดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานคณะ/หน่วยงานตามปกติที่ประกอบด้วยการควบคุมคุณภาพการตรวจสอบคุณภาพและการประเมินคุณภาพ
๑. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รร.นรต. ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เป็นแนวทางดำเนินงาน
๒. ดำเนินการตามคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนนายร้อยตำรวจเชิงรุก ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๓
๓. มีการแต่งตั้งคณะทำงานมอบหมายตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สทว.รร.นรต. ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐
๔. .แจกจ่ายคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รร.นรต. ปีการศึกษา ๒๕๖๐
๕. ส่งรายชื่อข้าราชการตำรวจเข้ารับการอบรมการเขียนรายงานการประเมินตนเอง
๖. รายงานผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙
๗. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปี ๒๕๖๐ และแบบติดตามงานประกันคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐
๘. แต่งตั้งคณะทำงานตรวจสอบ ติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สทว.รร.นรต. ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙
๙. กำหนดค่าเป้าหมายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา ๒๕๖๐
|
๕.๑-๗-๐๑
๕.๑-๗-๐๒
๕.๑-๗-๐๓
๕.๑-๗-๐๔
๕.๑-๗-๐๕
๕.๑-๗-๐๖
๕.๑-๗-๐๗
๕.๑-๗-๐๘
๕.๑-๗-๐๙
|